เมืองตะกั่วป่า สถานที่น่าถ่ายหนังมากๆ
เมืองเก่าตะกั่วป่า ซึ่งเคยเป็นเมืองที่มีความเจริ
ญรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นที่รู้จักของชนหลายเชื้
อชาติทั้งจีน อินเดีย อาหรับ ในชื่อเมืองตะโกลา (Takola) เนื่องจากเป็นเมืองท่าจอดเรือ เป็นศูนย์กลางการค้าขายและเป็
นเส้นทางลัดขนสินค้าข้
ามคาบมหาสมุทรมลายูจาก ฝั่ง ทะเลอันดามันไปยังอ่าวไทย ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตะกั่วป่ายังคงมีความสำคัญทางด้
านเศรษฐกิจ สามารถผลิตแร่ดีบุกได้มากที่สุ
ดตลอดมา สุดท้ายด้วยเหตุผลทางด้
านเศรษฐกิจและการเมือง ตะกั่วป่าจึงถูกลดฐานะจากจังหวั
ดตะกั่วป่าลงเป็นอำเภอหนึ่
งและรวมเข้ากับ จังหวัดพังงาจนกระทั่งถึงปัจจุ
บัน... ..........
ขอนำสายตาของท่านไปสัมผัส กับเมืองเก่าตะกั่วป่า ซึ่งเคยเป็นเมืองที่มีความเจริ
ญรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นที่รู้จักของชนหลายเชื้
อชาติทั้งจีน อินเดีย อาหรับ ในชื่อเมืองตะโกลา (Takola) เนื่องจากเป็นเมืองท่าจอดเรือ เป็นศูนย์กลางการค้าขาย ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตะกั่วป่ายังคงมีความสำคัญทางด้
านเศรษฐกิจ สามารถผลิตแร่ดีบุกได้มากที่สุ
ดตลอดมาสุดท้ายด้วยเหตุ
ผลทางเศรษฐกิจและการ เมืองและเป็นเส้นทางลัดขนสินค้
าข้ามคาบสมุทรมลายูจากฝั่
งทะเลอันดามันไปยัง อ่าวไทย ตะกั่วป่าจึงถูกลดฐานะจากจังหวั
ดตะกั่วป่าลงเป็นอำเภอหนึ่
งและรวมเข้ากับ จังหวัดพังงาจนกระทั่งถึงปัจจุ
บัน...... ......
เกริ่นนำด้วยข้อมูลจาก (วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี)แล้วจะเห็นว่าน่
าสนใจมิใช่น้อยน่าเสียดายที่นั
กท่องเที่ยว น้อยคนนักที่จะแวะไป สัมพัส เรียนรู้ถึง อดีตที่ยิ่งใหญ่ของเมืองตะกั่
วป่าแห่งนี้ เพราะส่วนใหญ่จุดมุ่งหมายการเดิ
นทางจะไปจบอยู่ที่ รีสอร์ท ผับ ร้านอาหารชายทะเลเป็นสำคัญ เสียดาย เสียดาย .. ... คำว่าจับเส้มาจาก "ภาษาจีนฮกเกี้ยน" ซึ่งแปลว่า "เมืองท่าที่เก็บภาษี" แต่ทุกวันนี้แม่น้ำดังกล่าวตื้
นเขินและเปลี่ยนเส้
นทางจนกลายเป็นถนนอุดมธารา ไปแล้วจนแทบ ไม่เหลือร่องรอยเมืองท่าเก็
บภาษีในอดีตไว้ให้คนรุ่นหลังได้
ศึกษากัน หลงเหลือก็เพียงบ้านเรื
อนโบราณในสถาปัตยกรรมแบบชิ
โนโปตุกีส คือ ศิลปะแบบจีนผสมยุโรปโปรตุเกสใน "ตลาดเก่า"ของเมืองตะกั่วป่าที่
พอจะเป็นร่องรอย ประวัติศาสตร์ที่ยังพอมีชีวิ
ตอยู่... ...
ในอดีตเมืองตะกั่วป่าไม่มีเส้
นทางคมนาคมโดยตรงที่จะเดิ
นทางไปกรุงเทพฯ เพราะยังไม่มีถนนเพชรเกษมตั
ดมาจาก จ.ระนอง เหมือนทุกวันนี้ เส้นทางเดียวที่สะดวกสุดที่
จะไปกรุงเทพฯ คือ ต้องลงเรือที่เมืองระนอง หรือเดินเท้าไปขึ้นรถไฟที่เมื
องชุมพร ดังนั้นคนตะกั่วป่าในอดีตจึงนิ
ยมลงเรือไปปีนังเพื่อเรียน หนังสือหรือค้าขายมากกว่าจะเข้
ากรุงเทพฯ เพราะเดินทางด้วยเรื
อกลไฟจากตะกั่วป่าไปได้
โดยตรงเลย... .. แต่ประมาณปี 2505 เริ่มมีถนนจากระนองทำให้การเดิ
นทางมีความสะดวกสบายมากขึ้น ประกอบกับเป็นยุคเฟื่องฟูของแร่
ดีบุกที่เคยมีราคาสูงถึงกิโลกรั
มละ 130 บาท ขณะที่ราคาข้าวสารในยุคนั้นไม่
ถึง 20 บาท จึงทำให้ธุรกิจเหมืองแร่ดีบุกรั
บทรัพย์กันแทบไม่ทัน... ...
ยุคดีบุกมีค่าดั่งทองทำให้เมื
องตะกั่วป่าเต็มไปด้วยสถานเริ
งรมย์ ทั้งโรงหนัง โรงแรม โรงน้ำชา รวมทั้งหญิงบริการเดินกันขวั
กไขว่ แต่พอถึงประมาณปี 2520 ก็เข้ายุคเสื่อมค่าของดีบุก ประกอบกับมีถนนตัดเข้าภูเก็ตได้
โดยตรงที่บ้านย่านยาวทำให้ถนนทุ
กสายมุ่งสู่ ภูเก็ตแทน ยุคอวสานแห่งความรุ่งโรจน์
ของเมืองตะกั่วป่าจึงสิ้นสุดลง เหลือเพียงบ้านเรือนสไตล์ชิ
โนโปรตุกีสในตลาดเก่าที่เป็
นประจักษ์พยานความ รุ่งเรืองในอดีต...